See ‘The Shape of Suffering‘ by Thanissaro Bhikkhu
‘When there is this, that comes to be; with the arising of this, that arises.
When there is not this, that does not come to be; with the cessation of this, that ceases.
That is, because of ignorance, formations arise. Because of formations, consciousness arises. Because of consciousness, name and form arise. Because of name and form, the sixfold sense base arises. Because of the sixfold sense base, contact arises. Because of contact, feelings arise. Because of feelings, craving arises. Because of craving, clinging arises. Because of clinging, becoming arises. Because of becoming, birth arises. Because of birth old age, sickness, death, sorrow, lamentation, pain, grief and despair arise. Thus arises the complete mass of suffering (dukkha).
When there is not this, that does not come to be; with the cessation of this, that ceases.
That is, because of ignorance, formations arise. Because of formations, consciousness arises. Because of consciousness, name and form arise. Because of name and form, the sixfold sense base arises. Because of the sixfold sense base, contact arises. Because of contact, feelings arise. Because of feelings, craving arises. Because of craving, clinging arises. Because of clinging, becoming arises. Because of becoming, birth arises. Because of birth old age, sickness, death, sorrow, lamentation, pain, grief and despair arise. Thus arises the complete mass of suffering (dukkha).
‘imasmiṃ sati idaṃ hoti, imassuppādā idaṃ uppajjati, imasmiṃ asati idaṃ na hoti, imassa nirodhā idaṃ nirujjhati, yadidaṃ – avijjāpaccayā saṅkhārā, saṅkhārapaccayā viññāṇaṃ, viññāṇapaccayā nāmarūpaṃ, nāmarūpapaccayā saḷāyatanaṃ, saḷāyatanapaccayā phasso, phassapaccayā vedanā, vedanāpaccayā taṇhā, taṇhāpaccayā upādānaṃ, upādānapaccayā bhavo, bhavapaccayā jāti, jātipaccayā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassūpāyāsā sambhavanti. evametassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti.’
Or watch another version here:
Avijjāpaccayā sankhārā (Video) | Theravada Dhamma Blog
สรุป ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท คือ การที่สิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี อาศัยกันและกันเกิดขึ้น มี 12 อย่าง ดังนี้
อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรามรณะ
ปฏิจจสมุปบาท คือ การที่สิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี อาศัยกันและกันเกิดขึ้น มี 12 อย่าง ดังนี้
อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรามรณะ
เมื่อคิดถึงสิ่งใด แสดงว่าพอใจในสิ่งนั้น
ภิกษุทั้งหลาย !
ถ้าบุคคลย่อมคิดถึงสิ่งใดอยู่ (เจเตติ)
ย่อมดำริถึงสิ่งใดอยู่ (ปกปฺเปติ)
และย่อมมีจิตฝังลงไปในสิ่งใดอยู ่ (อนุเสติ)
สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์เพื่ อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ.
เมื่ออารมณ์ มีอยู่,
ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี;
เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว,
ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ย่อมมี;
เมื่อความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่ อไป มี,
ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุ ปายาสทั้งหลาย
จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป :
ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
นิทาน. สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๕.
อิทัปปัจจยตา - หลักธรรมที่เป็นไปตามกฎของธรรมช
ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
ความจริงไม่มีใครทุกข์ - พระอาจารย์อำนาจ โอภาโส
ความจริงไม่มีใครทุกข์
The Truth is No One is Suffering
พระอาจารย์อำนาจ โอภาโส
Phra Ajahn Amnat Obhaso
คนส่วนใหญ่ไม่รู้ที่มาของความทุกข์ จึงคิดว่าทุกข์มาจากผู้อื่นกระทำ บางคนก็คิดว่า ทุกข์มาจากเราทำเอง
A lot of people do not know the origin of suffering, therefore they assume that suffering arises from others who did it to them, or else from themselves.
ทุกข์มาจากความไม่รู้ ตามความเป็นจริง
Suffering, stress, pain (dukkha) originates from ignorance, not knowing the truth.
หากเรารู้ว่าชีวิตคืออะไร? เราจะปฏิบัติต่อชีวิตอย่างถูกวิธี
Do we know what life is? How are we going to live life correctly?
ความจริงในธรรมชาติของจักรวาล มีแค่รูปและนาม เพราะรูปคือมวลสารต่างๆ ที่หมุนรอบตัวเองในที่ว่าง จึงเกิดสนามพลังของนามธรรม อยู่รอบรูปธรรมนั้น สมมุติเรียกว่า คือธรรมชาติแห่งการรับรู้
The truth is the whole universe is only material form (rūpa) and mental phenomena (nāma). Material form (rūpa) is just base matter which spins around itself in emptiness. That which arises around material form (rūpa) is the energy of knowing, the mental phenomena (nāma) that experiences various objects, and this is what we call mind (citta).
เพราะธาตุต่างๆ ที่รวมตัวอยู่ด้วยกันไม่คงที่ ความรับรู้ที่เกิดขึ้นในช่องว่าง รู้สึกถึงการจะแตกสลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเติมเต็ม เกิดความรู้สึกขัดขวาง (โทสะ)
เกิดความไม่รู้ที่แฝงตัวมา
Due to the fact that these elements are inconstant and the knowing arises in emptiness, they lead to momentary disintegration which conditions the mind to desire things, to go against things, and the ignorance of not knowing what is going on.
(โมหะ)
เมื่อมันมาก่อตัวกันเข้า เป็นโครงสร้างของรหัสดีเอ็นเอ ที่จะสมานตัวให้ทรงตัวอยู่ได้ จึงพยายามที่จะรักษาสถานภาพนั้น ด้วยการแสวงหาสิ่งที่จะมาเติมเต็ม แก้ปัญหาความพร่องของธาตุสี่ เกิดสภาวะการดิ้นรนของนามธรรม ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี้
When combined together, it becomes structured as DNA, trying to sustain and balance itself within the material form of the Four Great Elements. The mind wants to try to sustain itself and survive, which is the root of the problem for all living beings.
สิ่งทั้งหลายไม่มีอยู่โดยตัวของมันเอง ไม่มีความคงที่อยู่อย่างเดิม แม้แต่ขณะเดียว จึงเป็นสภาวะที่พร้อมจะก่อให้เกิดทุกข์แก่ผู้ไม่รู้เท่าทัน
Nothing is able to maintain or sustain itself by itself, not even for a moment. Therefore this state will condition pain, suffering, stress to the one who does not understand or know this situation.
สิ่งต่างไม่มีตัวตนด้วยตนเอง อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น (อวิชชา)
Nothing is an individual entity, it depends on causes and conditions (avijjā).
เพราะความไม่รู้ตามความเป็นจริง จึงเกิดความคิดปรุงแต่ง (สังขาร)
Because of not knowing this truth, mental formations arise (sankhāra).
เพราะเกิดความคิดปรุงแต่ง จึงรับรู้ถึงความรู้สึก (วิญญาณ)
Because of mental formations, consciousness (viññāṇa) is conditioned in a certain way.
เพราะการรับรู้ถึงความคิดนั้น จึงส่งผลถึงอารมณ์และบุคลิกภาพ (นามรูป)
Because of consciousness being that way, it influences one’s mental and physical state.
บุคลิกภาพนั้น ส่งต่อให้เครื่องมือการรับรู้ทำงาน (สฬายตนะ)
That mind and body conditions the working of the six sense spheres (saḷāyatana).
เพราะการรับรู้ทำงาน จึงเกิดการกระทบระหว่างภายในภายนอก (ผัสสะ)
The six sense spheres condition contact between the internal and external (phassa).
เพราะการกระทบ จึงทำให้เกิดอารมณ์สุข-ทุกข์ และเฉยๆ (เวทนา)
Contact conditions the feeling of pleasant, unpleasant or neutral (vedanā).
อารมณ์ที่สุขก็อยากได้ อารมณ์ที่ทุกข์ก็อยากผลักไส (ตัณหา)
Pleasant feeling gives rise to desire. Unpleasant feeling gives rise to aversion (taṇhā).
เพราะความอยาก จึงเข้าไปยึดกับสิ่งที่ต้องการ (อุปาทาน)
Because of wanting, attachment or clinging arises (upādāna).
เพราะยึดกับสิ่งที่ต้องการ จึงลงมือก่อพฤติกรรม (ภพ)
Because of attachment to what one wants, all kinds of actions and becoming (bhava) are determined.
เมื่อก่อพฤติกรรมดีหรือเลว จึงเกิดคำว่า “เราดีหรือเลว” ขึ้นในใจ (ชาติ)
Because of becoming either good or bad, therefore the idea of “I am good or bad” arises in the mind (jāti).
แต่สิ่งเหล่านั้นก็เสื่อมสลายไปตามเหตุปัจจัย (ชรา มรณะ)
But everything that has arisen still decays and fades away according to conditions (jarā-maraṇa).
แต่เพราะความไม่รู้ก็หลงปรุงแต่ง แสวงหาสิ่งเหล่านั้น วนเวียนซ้ำแล้วซ้ำเล่า
Due to not knowing the nature all these things, the process keeps on repeating and regenerating endlessly.
*๑๒ อาการแห่งทุกข์ ที่คนส่วนใหญ่ยังยึดติด ยังหาทางออกไม่พบ และประสบกับปัญหาเพิ่มขึ้น ความไม่เข้าใจเหตุปัจจัย ที่เป็นองค์ประกอบในสายใยของธรรมชาติ
*These are the twelve links giving rise to suffering that most people are stuck with and cannot find a way out of. They only condition more and more stress due to not understanding the conditions behind these causal links giving rise to suffering, which is the workings of nature.
หากเข้าใจ ปฏิจจสมุปบาท จะไม่สงสัยต่ออดีต ปัจจุบัน อนาคต ว่าเรามีหรือไม่อย่างไร
เพราะสิ่งต่างๆ อาศัยสิ่งอื่นๆ เกิดขึ้น จึงคงที่อยู่ไม่ได้ เรียกว่า "ทุกขลักษณะ" แต่ไม่มีผู้ทุกข์ (
If there is a true understanding of dependent origination, then doubt won’t arise regarding the past, present or future, whether there is an “I” or not, because everything is conditioned by every other thing, which is also unsustainable and inconstant. This state of inconstancy is called the characteristic of being hard-to-bear (dukkha-lakkhaṇa), but there is no person who is suffering.
การเคลื่อนไหวในกระแสของธรรมชาตินั้น มีความสัมพันธ์ส่งผลต่อกันอย่างละเอียดซับซ้อน ด้วยปัจจัยอันหลากหลาย กระทบกระทั่งเชื่อมต่อกันเป็นแพรัศมี สู่ผลอันหลากหลาย
The movement and current of nature in which everything is related is very subtle and intricate. It intertwines with everything else and has different conditioning which results in different shapes and forms in the different dimensions.
"ผลอันหลากหลาย เกิดจากเหตุปัจจัยอันหลากหลาย" พุทธพจน์
“All results arise from the different kinds of causes” according to the teachings of the Buddha.
เมื่อมีสติตามสังเกตการทำงานของกายและใจ จะสามารถใช้เหตุปัจจัยอย่างถูกวิธี
Whenever there is mindfulness in the investigation of material and mental phenomena, then wisdom will know how to apply these conditions correctly.
เพราะไม่มีใครหนีผัสสะทางอายตนะต่างๆ ได้ เมื่อเกิดการกระทบรู้เท่าทัน ใจก็ปกติ เรียกว่า
Because no one can escape the contact at the six sense spheres, mindfulness knows it immediately. This is called “sīlavisuddhi” - purity of morality.
จิตจึงตั้งมั่นไม่ถูกครอบงำด้วยอกุศลเรียกว่า
The mind that is steadfast and firm and is unshaken by unwholesomeness, this is called “cittavisuddhi” - purity of mind.
จึงเกิดความเห็นถูกของรูปนามตามความเป็นจริง เรียกว่า
Knowing the true nature of material and mental phenomena the way they really are, this is called “diṭṭhivisuddhi” - purity of view. "
ทิ
และเห็นปัจจัยของรูปและนาม จนหายสงสัย เรียกว่า "
Seeing the conditions and causal relations of mind and body eradicates doubts, this is called “kankhāvitaraṇavisuddhi” - purity through transcending doubts.
สามารถเลือกมุมมองอย่างถูกวิธี ของสิ่งที่เกิดขึ้นกับรูปและนาม เรียกว่า
Being able to view and understand correctly the conditioning process of material and mental phenomena, this is called “maggāmaggañāṇadassanavisuddhi” - purity through knowledge and vision of what is and isn't the way.
เห็นลักษณะความเกิดดับในขันธ์ ๕ ยอมรับความเป็นจริงด้วยใจเป็นกลาง เรียกว่า
The ability to penetrate the rise and fall of the Five Aggregates and wholeheartedly accept it with a steadfast and balanced mind, this is called “paṭipadāñāṇadassanavisuddhi” - purity through knowledge and vision of the path of progress.
จิตจึงไม่ปนเปื้อนด้วยตัณหาและการหลงคิดปรุงแต่ง ทวนเข้าสู่กระแสธรรมชาติเดิมที่บริสุทธิ์ ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว คือความสุขหรือพระนิพพาน เรียกว่า "ญาณทัสสนวิส
When the mind is not defiled with craving or mental formations but has entered into “the way things are”, which is peaceful and the origin of all purity, that is the happiness of Nibbāna. This is called “ñāṇadassanavisuddhi” - purity through knowledge and vision.
เพราะสิ่งต่างๆ อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น หากผู้ขาดปัญญาไม่รู้ ก็หลงผิดสร้างเหตุปัจจัยแห่งความทุกข์"
Because everything is conditioned, anyone who does not have wisdom to directly know this, will get lost in these conditions which lead to suffering and stress in their life.
หากผู้มีสติปัญญารู้ จึงเลือกสร้างเหตุปัจจัยแห่งความสุข....
Those who have mindfulness and wisdom will create the conditions for happiness.
บทปฏิจจสมุปบาท ต้นเหตุของทุกข์
Nice chanting in Pali of paticca-samuppāda